最新 泰语元音Word文档下载推荐.docx

上传人:b****5 文档编号:17326935 上传时间:2022-12-01 格式:DOCX 页数:8 大小:19.41KB
下载 相关 举报
最新 泰语元音Word文档下载推荐.docx_第1页
第1页 / 共8页
最新 泰语元音Word文档下载推荐.docx_第2页
第2页 / 共8页
最新 泰语元音Word文档下载推荐.docx_第3页
第3页 / 共8页
最新 泰语元音Word文档下载推荐.docx_第4页
第4页 / 共8页
最新 泰语元音Word文档下载推荐.docx_第5页
第5页 / 共8页
点击查看更多>>
下载资源
资源描述

最新 泰语元音Word文档下载推荐.docx

《最新 泰语元音Word文档下载推荐.docx》由会员分享,可在线阅读,更多相关《最新 泰语元音Word文档下载推荐.docx(8页珍藏版)》请在冰豆网上搜索。

最新 泰语元音Word文档下载推荐.docx

สระที่เสียงเหมือนพยัญชนะ 

:

ฤ 

ฤาฦฦาอำไอใอเิอา

เสียงสระ

ถึงเเม้ว่าสระจะเป็นเสียงเเท้ซึ่งเปล่งออกมาจากลำคอก็ดีเเต่ก็ต้องอาศัยฐานคือที่เกิดบ้างเล็กน้อยเหมือนกันเเต่ไม่ต้องใช้ลิ้นหรือริมฝีปากให้มากจนทำให้เสียงเเปรไปเป็นพยัญชนะในภาษาไทยมีเสียงสระต่างกันเป็น๓๒เสียงซึ่งประกอบขึ้นด้วยรูปสระ๒๑ข้างต้นดังนี้

สระเสียงสั้น

สระเสียงยาว

-ะ 

อะ

-า 

อา

-ิ 

อิ

-ี 

อี

-ึ 

 

อึ

-ื 

อื

-ุ 

อุ

-ู 

อู

เ-ะ 

เอะ

เ- 

เอ

เเ-ะ 

เเอะ

เเ- 

เเิอ

โ-ะ 

โอะ

โ- 

โอ

เ-าะ 

เอาะ

-อ 

ออ

เ-อะ 

เิิออะ

เ-อ 

เิิออ

เ-ียะ 

เิอียะ

เ-ีย 

เอีย

เ-ีอะ 

เอือะ

เิ-ืิอ 

เอือ

-ัวะ 

-ัว 

อัว

ฤ 

ฤา

ฦฦา

-ำอำ

ไ-ไอ 

ใ-ใอ

เ-า 

เอา

เอียะ 

สระ

เสียงสระในภาษาไทยแบ่งออกเป็น3ชนิดคือสระเดี่ยวสระประสมและสระเกิน

สระเดี่ยวคือสระที่เกิดจากฐานเพียงฐานเดียวมีทั้งสิ้น18เสียง

ลิ้นส่วนหน้า

ลิ้นส่วนหลัง

ปากเหยียด

ปากห่อ

สั้น

ยาว

ลิ้นยกสูง

/i/

–ิ

/iː/

–ี

/ɯ/

–ึ

/ɯː/

–ื

/u/

–ุ

/uː/

–ู

ลิ้นกึ่งสูง

/e/

เ–ะ

/eː/

เ–

/ɤ/

เ–อะ

/ɤː/

เ–อ

/o/

โ–ะ

/oː/

โ–

ลิ้นกึ่งต่ำ

/ɛ/

แ–ะ

/ɛː/

แ–

/ɔ/

เ–าะ

/ɔː/

–อ

ลิ้นลดต่ำ

/a/

–ะ

/aː/

–า

สระเดี่ยว

สระประสม

สระประสมคือสระที่เกิดจากสระเดี่ยวสองเสียงมาประสมกันเกิดการเลื่อนของลิ้นในระดับสูงลดลงสู่ระดับต่ำดังนั้นจึงสามารถเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า"

สระเลื่อน"

มี3เสียงดังนี้

∙เ–ีย/iaː/ประสมจากสระอีและอา

∙เ–ือ/ɯaː/ประสมจากสระอือและอา

∙–ัว/uaː/ประสมจากสระอูและอา

ในบางตำราจะเพิ่มสระสระประสมเสียงสั้นคือเ–ียะเ–ือะ–ัวะด้วยแต่ในปัจจุบันสระเหล่านี้ปรากฏเฉพาะคำเลียนเสียงเท่านั้นเช่นเพียะเปรี๊ยะผัวะเป็นต้น

สระเกิน

ไม่มีตัวสะกด

มีตัวสะกด

–ั–¹

–า–

–ำ

(ไม่มี)

–ิ–

–ี–

ใ–

–ึ–

–ือ

–ื–

ไ–

ไ––⁵

–ุ–

–ู–

เ–า

เ–็–

เ––

ฤ,–ฤ

ฤ–,–ฤ–

แ–็–

แ––

ฤๅ

––

โ––

ฦ,–ฦ

ฦ–,–ฦ–

–็อ–

–อ–²

ฦๅ

–ัวะ

–ัว

–ว–

เ–ียะ

เ–ีย

เ–ีย–

เ–ือะ

เ–ือ

เ–ือ–

เ–ิ–³

เ–อ–⁴

สระเกินคือสระที่มีเสียงของพยัญชนะปนอยู่มี8เสียงดังนี้

∙–ำ/am,aːm/ประสมจากอะ+ม(อัม)บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด(อาม)

∙ใ–/aj,aːj/ประสมจากอะ+ย(อัย)บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด(อาย)

∙ไ–/aj,aːj/ประสมจากอะ+ย(อัย)บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด(อาย)

∙เ–า/aw,aːw/ประสมจากอะ+ว(เอา)บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด(อาว)

∙ฤ/rɯ/ประสมจากร+อึ(รึ)บางครั้งเปลี่ยนเป็น/ri/(ริ)หรือ/rɤː/(เรอ)

∙ฤๅ/rɯː/ประสมจากร+อือ(รือ)

∙ฦ/lɯ/ประสมจากล+อึ(ลึ)

∙ฦๅ/lɯː/ประสมจากล+อือ(ลือ)

บางตำราก็ว่าสระเกินเป็นพยางค์ไม่ถูกจัดว่าเป็นสระ

สระบางรูปเมื่อมีพยัญชนะสะกดจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระสามารถสรุปได้ตามตารางด้านขวา

¹

คำที่สะกดด้วย–ะ+วนั้นไม่มีเพราะซ้ำกับ–ัวแต่เปลี่ยนไปใช้เ–าแทน

²

คำที่สะกดด้วย–อ+รจะลดรูปเป็น–รไม่มีตัวออเช่นพรศรจรซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระโ–ะดังนั้นคำที่สะกดด้วยโ–ะ+รจึงไม่มี

³

คำที่สะกดด้วยเ–อ+ยจะลดรูปเป็นเ–ยไม่มีพินทุ์อิเช่นเคยเนยเลยซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระเ–ดังนั้นคำที่สะกดด้วยเ–+ยจึงไม่มี

⁴พบได้น้อยคำเท่านั้นเช่นเทอญเทอม

⁵มีพยัญชนะสะกดเป็นยเท่านั้นเช่นไทยไชย

表格

เสียงในภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่1

เสียงในภาษา

เสียงในภาษาหมายถึงเสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมายระหว่างมนุษย์ด้วยกันและเพื่อสนองความต้องการต่างๆเช่นขอความช่วยเหลือแสดงความรู้สึกรักเกลียดโกรธชอบไม่ชอบพอใจไม่พอใจฯลฯ

เสียงในภาษาเกิดจากอวัยวะต่างๆตั้งแต่กระบังลมปอดหลอดลมกล่องเสียงลิ้นไก่เพดานลิ้นปุ่มเหงือกริมฝีปากและช่องจมูกมาทำงานประสานกันจึงทำให้เกิดเสียงได้

เสียงในภาษามี3ชนิดคือ

1.เสียงสระ

2.เสียงพยัญชนะ

3.เสียงวรรณยุกต์

เสียงสระคือเสียงที่เปล่งออกมาจากลำคอโดยตรงไม่ถูกสกัดกั้นณที่ใดที่หนึ่งในช่องทางเดินของลมเลยแล้วกระทบเส้นเสียงทั้งสองข้างเกิดเป็นเสียงสั่นสะเทือนมีเสียงก้องกังวานและออกเสียงได้ยาวนานกว่าเสียงพยัญชนะ

เสียงสระมี24เสียงแบ่งได้2ชนิดคือ1.สระแท้2.สระประสม

1.เสียงสระแท้มี18เสียงแบ่งได้2ประเภทคือ

1.1สระแท้ฐานเดียวมี8เสียงคือ

เสียงสั้นเสียงยาว

อะอา

อิอี

อึอื

อุอู

1.2สระแท้สองฐานมี10เสียงคือ

เอะเอ

แอะแอ

โอะโอ

เอาะออ

เออะเออ

2.เสียงสระประสมคือการนำสระแท้มาประสมกัน2เสียงสระประสมมี6เสียงคือ

เอียะ(อิ+อะ)เอีย(อี+อา)

เอือะ(ฮึ+อะ)เอือ(อือ+อา)

อัวะ(อุ+อะ)อัว(อู+อา)

หมายเหตุยังมีเสียงสระอีกชนิดหนึ่งคือสระเกินในสมัยก่อนถือว่าเป็นเสียงสระแต่ปัจจุบันไม่ถือว่าสระเกินเป็นเสียงสระเพราะมีเสียงพยัญชนะประสมอยู่

สระเกินมี8เสียงคือ

1.อำ(อะ+ม)5.ฤ(อึ+ร)อ่านว่ารึ

2.ไอ(อะ+ย)6.ฤา(อือ+ร)อ่านว่ารือ

3.ใอ(อะ+ย)7.ฦ(อึ+ล)อ่านว่าลึ

4.เอา(อะ+ว)8.ฦา(อือ+ล)อ่านว่าลือ

เสียงพยัญชนะ

เสียงพยัญชนะหมายถึงเสียงที่เปล่งออกมาจากลำคอแล้วกระทบกับอวัยวะต่างๆภายในช่องปากหรือช่องจมูกลมอาจถูกสกัดกั้นไว้ทั้งหมดหรือเป็นบางส่วนจึงทำให้เกิดเสียงพยัญชนะต่างๆ

เสียงพยัญชนะมี21เสียงได้แก่

เสียงพยัญชนะไทย(21เสียง)รูปพยัญชนะไทย(44รูป)

1.กก

2.ขขฃคฅฆ

3.งง

4.จจ

5.ชชฌฉ

6.ซซศษส

7.ดดฎ

8.ตตฏ

9.ททธฑฒถฐ

10.นนณ

11.บบ

12.ปป

13.พพภผ

14.ฟฟฝ

15.มม

16.ยยญ

17.รร

18.ลลฬ

19.วว

20.ฮหฮ

21.ออ

เสียงวรรณยุกต์

เสียงวรรณยุกต์คือเสียงที่มีระดับสูงต่ำแตกต่างกันไปนับว่าสำคัญมากเพราะทำให้ความหมายของคำเปลี่ยนไปด้วย

เสียงวรรณยุกต์มี5เสียงคือ

1.เสียงสามัญเช่นแตงปานแนวกองเป็นต้น

2.เสียงเอกเช่นจัดก่อนโปรดอิ่มเป็นต้น

3.เสียงโทเช่นหิ้วง่ายมีดบ้านชั่งท้องเป็นต้น

4.เสียงตรีเช่นโต๊ะชุดพลุไม้เป็นต้น

5.เสียงจัตวาเช่นเสือหวานเขาถือเป็นต้น

หมายเหตุเสียงวรรณยุกต์ที่อยู่ในพยางค์หรือคำต่างๆที่เราออกเสียงนั้นมีทั้งที่เสียงวรรณยุกต์ตรงกับรูปวรรณยุกต์และไม่ตรงกับรูวรรณยุกต์เช่น

เสียงวรรณยุกต์และรุปวรรณยุกต์ตรงกันเช่นผ่าข้าวเจี๊ยบเป็นต้น

เสียงวรรณยุกต์และรุปวรรณยุกต์ไม่ตรงกันเช่นเที่ยวม้าค้าเป็นต้น

สระเสียงสั้น(รัสสระ)

สระเสียงยาว(ทีฆสระ)

สระเดี่ยว(๑๘เสียง)

อะ

อิ

อึ

อุ

เอะ

แอะ

โอะ

เอาะ

เออะ

อา

อื

อู

เอ

แอ

โอ

ออ

เออ

สระประสม(๖เสียง)

เอียะ(อิ+อะ)

เอือะ(อึ+อะ)

อัวะ(อุ+อะ)

เอีย(อี+อา)

เอือ(อื+อา)

อัว(อู+อา)

展开阅读全文
相关资源
猜你喜欢
相关搜索

当前位置:首页 > 高中教育 > 高中教育

copyright@ 2008-2022 冰豆网网站版权所有

经营许可证编号:鄂ICP备2022015515号-1